วันอังคารที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
วันอาทิตย์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
[MV]หนีไม่พ้น - Ebola
1.ชื่อศิลปิน --Ebola
2.แนวเพลง --ร็อก
4.M/T--มัน/กระโดด/สุดยอด
BANNER
ฟอนต์ที่ใช้
วันศุกร์ที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
1. การอุปมาทางการเห็น (Visual Metaphor)

2. การใช้ภาพเหนือจริง (Surrealism)

โฆษณาแชมพู
แสดงให้เห็นถึงความแข็งแรงของเส้นผมที่สามารถนำมาเป็นอาวุธจัดการคนร้ายได้
3. การสร้างความผิดปกติจากของจริง (Violating Reality)

4. การรวมกันเข้าของสองสิ่งที่ไม่เกี่ยวข้องกัน(Morphing, Blending and Merging)
โซฟาที่ให้ความนุ่มสบาย เหมือนกับความรู้สึกที่คุณได้เวลาทานเค้กร้านโปรดของคุณ ที่มีทั้งความนุ่มของขนมปัง และสีสันที่น่ารับประทาน
5. การใช้มุมกล้องแทนสายตาผู้ดูหรือผู้ถ่าย(Subjective Camera)

โฆษณากระจกรถ แสดงให้เห็นว่า กระจกยี่ห้อนี้ดี เงางาม สะท้อนถึงภาพข้างหลังได้อย่างชัดเจน
6. การล้อเลียน (Visual Parodies)

การวาดภาพล้อเลียนจากภาพจริงเพื่อความน่ารักสนุกสนาน
7. ภาพที่มีขนาดไม่ปกติ (Unusual Size)
เป็นภาพของขาซึ่งมีขนาดที่ไม่ปกติเพราะมีความยาวเท่ากับตึกหรืออาคารนั่นเอง

ลูกอ่อนในครรภ์ คนเดียวที่คุณยิ้มได้ เมื่อโดนถีบ
2. การใช้ภาพเหนือจริง (Surrealism)

โฆษณาแชมพู
แสดงให้เห็นถึงความแข็งแรงของเส้นผมที่สามารถนำมาเป็นอาวุธจัดการคนร้ายได้
3. การสร้างความผิดปกติจากของจริง (Violating Reality)

เป็นภาพที่เปรียบผิวหน้าคนเหมือนก้นเด็ก ควรใช้แว่นกันแดด ซึ่งหน้าที่เหมือนก้นเด็กมีความผิดปกติจากของจริง
4. การรวมกันเข้าของสองสิ่งที่ไม่เกี่ยวข้องกัน(Morphing, Blending and Merging)
5. การใช้มุมกล้องแทนสายตาผู้ดูหรือผู้ถ่าย(Subjective Camera)

โฆษณากระจกรถ แสดงให้เห็นว่า กระจกยี่ห้อนี้ดี เงางาม สะท้อนถึงภาพข้างหลังได้อย่างชัดเจน
6. การล้อเลียน (Visual Parodies)

การวาดภาพล้อเลียนจากภาพจริงเพื่อความน่ารักสนุกสนาน
7. ภาพที่มีขนาดไม่ปกติ (Unusual Size)
เป็นภาพของขาซึ่งมีขนาดที่ไม่ปกติเพราะมีความยาวเท่ากับตึกหรืออาคารนั่นเอง


1. ชื่อเรื่อง (Title)
โรงพยาบาลกรุงเทพ
2. ข้อมูลเบื้องต้น (Background) / S W O T
ในอดีตนั้นโรงพยาบาลของรัฐมีน้อยไม่เพียงพอกับจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น โรงพยาบาลกรุงเทพจึงถือกำเนิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2515 จากความตั้งใจของคณะแพทย์และเภสัชกรที่มีอุดมการณ์ ปรารถนาที่จะให้บริการด้านการแพทย์และสุขภาพเพื่อรองรับผู้ป่วย ด้วยเตียงผู้ป่วยเพียง 100 เตียง พร้อมด้วยทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญและพยาบาล
โรงพยาบาลกรุงเทพ ได้ขยายเครือข่ายรวม 13 สาขา โรงพยาบาลครอบคลุมพื้นที่ให้บริการแทบทุกภูมิภาคของไทย โดยเฉพาะในเมืองใหญ่และแหล่งท่องเที่ยว ด้วยทีมแพทย์เฉพาะทาง บุคลากรมืออาชีพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ทันสมัย ประสิทธิภาพสูง เพรียบพรัอมด้วยบริการฉุกเฉินและบริการพิเศษเหนือระดับ สิ่งอำนวยความสะดวกครบครัน เพื่อสนองตอบทุกความต้องการของผู้ใช้บริการทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ
วันนี้โรงพยาบาลกรุงเทพยึดมั่นคุณลักษณะดังกล่าวและนำมายกระดับการให้บริการทางการแพทย์ พร้อมด้วยเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ทันสมัย กับการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง ปรากฏภาพแห่งความสำเร็จเด่นชัดจากอัตราเติบโตทางธุรกิจของเรา ซึ่งยืนหยัดอย่างมั่นคงแข็งแรงในฐานะโรงพยาบาลเอกชนผู้ให้บริการทางการแพทย์ครบวงจรที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
จุดแข็ง : เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค และเป็นสถานพยาบาลซึ่งประชาชนให้ความไว้วางใจและเชื่อมั่นในคุณภาพจุดอ่อน : ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลค่อนข้างสูง จึงทำให้กลุ่มเป้าหมายมีวงแคบอยู่ในผู้ที่มีสถานะทางการเงินค่อนข้างดี
โอกาส : สังคมในปัจจุบันผู้คนนั้นมีโรคประจำตัวกันค่อนข้างมาก ถ้าไปรักษาที่คลีนิคนั้นมักจะไม่มีแพทย์เฉพาะทาง ไม่เหมือนโรงพยาบาลกรุงเทพที่มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญมากกว่า
ปัญหา : เศรษฐกิจไทยในปัจจุบันนี้ค่อนข้างแย่และโรงพยาบาลนี้เป็นโรงพยาบาลที่ต้องใช้ค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูงจึงเหมาะสำหรับผู้ที่มีสถานะทางการเงินที่สูงเท่านั้น
3. วัตถุประสงค์ (Objective)
3. วัตถุประสงค์ (Objective)
- เพื่อสร้างความมั่นใจในมาตรฐานและเลือกโรงพยาบาลกรุงเทพทำการรักษา
- เพื่อสร้างการรับรู้ในคุณสมบัติที่โดดเด่นทางสาขาสถานพยาบาล
4. กลุ่มเป้าหมายหลัก (Main Target)
ด้านกายภาพ
- ชาย/หญิง
- โสด/สมรส
- ไม่จำกัดอายุ
ด้านจินตภาพ
- เป็นคนที่มีโรคประจำตัว
5. แนวความคิด (Concept)
5. แนวความคิด (Concept)
- เพื่อสุขภาพที่ดีที่สุด6. เหตุผลสนับสนุนแนวคิด (Support)
เมื่อคุณได้เข้ามาทำการรักษาที่โรงพยาบาลแห่งนี้คุณจะได้รับการรักษาที่ดีและการให้ความสำคัญแก่ผู้ป่วยที่มารักษาทุกท่าน
7. อารมณ์และความรู้สึก (Mood & Tone)
7. อารมณ์และความรู้สึก (Mood & Tone)



8. ผลตอบสนอง (Desired response)
- เกิดความมั่นใจและตัดสินใจทำการรักษา
- เกิดความมั่นใจและตัดสินใจทำการรักษา

1. ชื่อเรื่อง (Title)
Photoshow:
2. ข้อมูลเบื้องต้น (Background) / S W O T
Advertising Agency: 3d'esign communication, Milan, Italy
Art Director: Giovanni Trabucco
Copywriter: Alberto Crignola
Photographer: Piero Visconti
Postproduction: Thomas Lavezzari
Account: Amanda Frascolla
Published: January 2011
จุดแข็ง : มีชื่อเสียง เป็นที่ยอมรับของประชาชน
จุดอ่อน : มีคู่แข่งทางการตลาดมาก
ปัญหา : ประชาชนทั่วไปคาดไม่ถึงเกี่ยวกับการโฆษณาแบบนี้ เลยไม่ค่อยให้ความสนใจเท่าไหร่
โอกาส : ได้ใช้สุนัขเป็นพรีเซ็นเตอร์ของโฆษณานี้
3. วัตถุประสงค์ (Objective)
- เพื่อให้คนที่รักการถ่ายภาพมาใช้กล้องตัวนี้เพราะสามารถเก็บความจำภาพได้มาก
4. กลุ่มเป้าหมายหลัก (Main Target)
- เพศ ชาย/หญิง
- อายุ ตั้งแต่ 20-30 ปี
5. แนวความคิด (Concept)
Pictures rescue memories
6. เหตุผลสนับสนุนแนวคิด (Support)
เป็นโฆษณากล้องถ่ายรูปที่มีความจำเครื่องได้ดีเพราะขนาดสุนัขยังชอบเลย
7. อารมณ์และความรู้สึก (Mood & Tone)
ใช้ง่าย-จำมาก-ทันสมัย
8. ผลตอบสนอง (Desired response)
เป็นที่สนใจของกลุ่มที่ชอบการถ่ายภาพ
การสื่อสาร
การสื่อสาร หมายถึง กระบวนารการถ่ายทอดสารจากบุคคลหนึ่ง (ผู้ส่งสาร) ไปยังบุคคลหนึ่ง (ผู้รับสาร) โดยผ่านสื่อต่างๆ
เทคนิคการนำเสนอ
แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างสรรค์งานโฆษณา
ในการสร้างสรรค์งานโฆษณาให้ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงคืนั้นต้องขึ้นอยู่กับ
1. การวางกลยุทธ์ในการสร้างสรรค์งานโฆษณา
2. การนำเสนอความคิดสร้างสรรค์ในโฆษณา
3. การสร้างสรรค์งานให้โดดเด่นมีประสิทธิภาพอย่างเหมาะสม
แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างสรรค์งานโฆษณา
การนำเสนอความคิดสร้งสรรค์ในโฆษณา Creative Execution
Execution หมายถึง การใส่เนื้อหาลงในงานโฆษณา เป็นการนำเสนอภาพ คำพูดและองค์ประกอบอื่น ๆ ของการสร้งสรรค์ Creative Mix มาผสมผสานกันอย่างมีประสิทธิภาพกับศิลปะและสุนทรี เพื่อให้เกิดการสื่อข้อความที่มีปรสิทธิภาพและประสิทธิผล
1.องค์ประกอบของการสร้างสรรค์งานโฆษณา
2.รูปแบบการนำเสนอภาพโฆษณา
องค์ประกอบของการสร้างสรรค์งานโฆษณา คือ
เพื่อให้งานโฆษณาสามารถบรรลุแนวปราการของขั้นตอนการเลือกการรับรู้ Selective Perception ของผู้บริโภคได้นั้น นอกจากยุทธวิธีในการโฆษณาถูกวางให้เป็นแนวทางแล้ว ทั้งด้านแนวคิด Concept ลีลา Tone จุดเว้าวอน Apeal จุด Selling Point ตลอดจนแนวทางการนำเสนอ
1. ส่วนของคำพูดวัจนภาษา คือถ้อยคำในการส่งสารไปสู่เป้าหมาย ได้แก่ 1. พาดหัวหลัก
2. พาดหัวรอง
3. ข้อความโฆษณา
4. คำบรรยายใต้ภาพ
5. สโลแกน
6. บรรทัดท้าย
7. ชื่อตราสินค้า
2. ส่วนที่ไม่เป็นคำพูด อวัจนภาษา
ได้แก่ 1. ภาพปรกอบ ไม่ต้องมีคำพูด อาจมีภาพสินค้า ภาพที่อธิบายความคิดหรือไม่ต้องมีสินค้าก็ได้ แบ่งออกเป็น 3 ส่วนได้แก่ ภาพถ่าย ภาพลายเส้น และภาพลายเส้นและภาพถ่ายรวมกันโดยการสร้างเรื่องราวได้ดี
2. การจัดภาพที่ดี มีความสมดุลมีจุดเด่น มีสัดส่วนที่ดี มีที่ว่างที่เหมาะสม
3. โลโก้ การแสดงเอกลักษณ์ของสินค้าเป็นภาพลายเส้น
4. ขนาดสัดส่วน ความเด่น ความแรง เป็นภาพลายเส้น
5. สี อาจจะใช้สีที่เกี่ยวกับสิ่งพิมพ์ ก็จะใช้น้อยแล้วแต่โฆษณา
6. การใช้ตัวอักษร สามารถให้อารมณ์และบุคลิกกับตัวสินค้าได้เหมือนกัน
ข้อมูลและการนำเสนอข้อมูล
โดยปกติการเก็บรวบรวมข้อมูล มักจะได้ข้อมูลตามรูปแบบของการเก็บข้อมูลนั้นๆ ทำให้ข้อมูลที่ได้อาจไม่เป็นระเบียบ การนำข้อมูลเหล่านั้นมาใช้อาจทำได้ยาก วิธีการแก้ไขปัญหานี้คือการนำข้อมูลนั้นๆ มาจัดให้เป็นระเบียบ เพื่อให้มองเห็นลักษณะสำคัญของข้อมูลชัดเจนขึ้น เห็นความสัมพันธ์กันในกลุ่มข้อมูลตามความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล สามารถอ่านข้อมูลได้ง่าย และสามารถทำความเข้าใจได้รวดเร็วและน่าสนใจมากยิ่งขึ้น เราเรียกกระบวนการดังกล่าวนี้ว่า การนำเสนอข้อมูล (Data Presentation)
การนำเสนอข้อมูล เป็นการนำเอาข้อเท็จจริง ข้อมูล รายละเอียดต่างๆ ที่เก็บรวบรวมข้อมูลมาจัดให้เป็น ระเบียบ เพื่อมุ่งที่ให้ผู้ใช้ข้อมูลมองเห็นลักษณะสำคัญ ของข้อมูลเหล่านั้น และสามารถอ่านรายละเอียด หรือเปรียบเทียบข้อเท็จจริง ข้อมูล รายละเอียดเหล่านั้นได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และตรงตามความต้องการ ของผู้ใช้ข้อมูล อาจกล่าวได้ว่า วัตถุประสงค์สำคัญของการนำเสนอข้อมูลก็เพื่อจะนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ มาเสนอหรือเผยแพร่ให้ผู้สนใจข้อมูลนั้นๆ ทราบ หรือ สามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้
การนำเสนอข้อมูลเป็นขั้นตอนในการเตรียมข้อมูลให้พร้อมสำหรับ การวิเคราะห์และการแปลความหมาย สรุปผลข้อมูล เพื่อนำสารสนเทศนั้นไปใช้ใน การตัดสินใจสำหรับการทำงานต่อไป รวมถึงการเลือกวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลจากรูปแบบและลักษณะสำคัญของข้อมูลนั้นๆ ได้ถูกต้องอีกด้วย โดยทั่วไปการนำเสนอข้อมูลอาจทำได้ใน 2 ลักษณะใหญ่ๆ คือ
1. การนำเสนอข้อมูลอย่างไม่เป็นแบบแผน (informal presentation) หมายถึง การนำเสนอข้อมูลที่ไม่มีกฎเกณฑ์ หรือแบบแผนที่แน่นอนตายตัว เป็นการอธิบายลักษณะของข้อมูลตามเนื้อหาข้อมูล ที่นิยมใช้มีสองวิธีคือ การนำเสนอข้อมูลในรูปบทความหรือข้อความเรียง และการนำเสนอข้อมูล ในรูปบทความกึ่งตาราง
2. การนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นแบบแผน (formal presentation) หมายถึง การนำเสนอข้อมูลที่มีกฎเกณฑ์ซึ่งจะต้องปฏิบัติตามมาตรฐานที่กำหนดไว้เป็นแบบอย่าง การนำเสนอข้อมูลประเภทนี้ที่นิยมคือ การนำเสนอข้อมูลในรูปตาราง การนำเสนอข้อมูลในรูปกราฟหรือแผนภูมิ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)